อบรมหลักสูตร การวิเคราะห์ภูมิสารสนเทศสถิติขั้นสูง (Advance Course)
โดย : ที่ปรึกษาโครงการฯ (บริษัท เดอะแมปเปอร์ จำกัด)
ที่มา : โครงการศึกษา พัฒนา และวิเคราะห์ภูมิสารสนเทศสถิติ โดยใช้ข้อมูลจากหลายแหล่ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ระยะเวลา : 5 วัน (ระหว่างวันที่ 6 – 7, 13 – 15 พฤศจิกายน 2566)
เอกสารการอบรม : ดาวน์โหลดเอกสาร
หัวข้อ
การจัดการข้อมูลคืออะไร
• ประเภทของข้อมูล
– แบ่งตามแหล่งที่มา
– แบ่งตามลักษณะของข้อมูล
– แบ่งตามลักษณะของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มตัวอย่าง
– แบ่งตามการนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์ได้
• แหล่งที่มาของข้อมูล
– ข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ
– ข้อมูลจากหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
• สรุปปัญหาของข้อมูล
ขั้นตอนการดำเนินงานการจัดการข้อมูล
• การดำเนินงานการจัดการข้อมูล
– การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Gathering)
– การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
– การจัดการข้อมูล (Data Management)
– การแก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติมข้อมูล (Transform
– and enrich data)
– การจัดเก็บข้อมูล (Data Store)
• การจัดการข้อมูลสถิติ
– การจัดการข้อมูลสถิติด้วยโปรแกรม Microsoft Excel
– การจัดการข้อมูลสถิติด้วยโปรแกรม QGIS
หัวข้อ
งานพื้น ๆ ของ QGIS
• การใช้งาน Operator
• การจัดการ Field (Refactor Field)
• Field Calculator เช่น คำนวณพื้นที่ ความหนาแน่นที่อยู่อาศัย
• Projection transformation
• การใช้ Group Stat และ เพื่อสรุปข้อมูลสถิติชั้นข้อมูล Vector
• การใช้ Zonal Statistics เพื่อสรุปข้อมูลสถิติชั้นข้อมูล Raster
รู้เพิ่มอีกนิด กับ QGIS
• การหาระยะใกล้สุดจากรัศมีรอบตัวของข้อมูลแผนที่
• การวิเคราะห์ Network Analysis
• การทำ Layout ก่อนพิมพ์แผนที่
-
การใช้งาน Operator
-
การจัดการ Field (Refactor Field)
-
คำนวณพื้นที่ ความหนาแน่นที่อยู่อาศัย Field Calculator
-
Projection transformation
-
การใช้ Group Stat และ เพื่อสรุปข้อมูลสถิติชั้นข้อมูล Vector (Shortest GroupStat)
-
การใช้ Zonal Statistics เพื่อสรุปข้อมูลสถิติชั้นข้อมูล Raster
-
การหาระยะใกล้สุดจากรัศมีรอบตัวของข้อมูลแผนที่
-
การวิเคราะห์ Network Analysis ระยะทางที่สั้นทีสุด (Shortest GroupStat)
-
พื้นที่ให้บริการ Service Area
หัวข้อ
เข้าใจภาพรวม Spatial Science
• ความรู้เกี่ยวกับภูมิสารสนเทศสถิติ
• ทฤษฎีอ้างอิงที่เกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่
• ทฤษฎีอ้างอิงในงานวิเคราะห์เชิงพื้นที่
• แนวคิดเรื่องความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ (Spatial Relation)
รู้รอบด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์
• พื้นฐานที่ควรทราบเกี่ยวกับโปรแกรม (Fundamentals of GeoDa)
• การจัดการข้อมูลด้วยเครื่องมือ (Basic Operations)
• การจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ (GIS Operation)
-
เข้าใจภาพรวม Spatial Science (GeoDa 1 OVERVIEW)
-
พื้นฐานที่ควรทราบเกี่ยวกับโปรแกรม (Fundamentals of GeoDa)
-
การจัดการข้อมูลด้วยเครื่องมือ (Basic Operations)
-
การจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ (GIS Operation) GeoDa 4 MAP 1
-
การจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ (GIS Operation) GeoDa 4 MAP 2
-
การจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ (GIS Operation) GeoDa 6 SAVE MAP BASEMAP
-
การจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ (GIS Operation) GeoDa 12 JOINCSV
หัวข้อ
มาเริ่มวิเคราะห์กัน
• การวิเคราะห์การกระจายตัวของข้อมูลด้วย Univariate Analysis
• การกำหนด Spatial Weight ให้กับข้อมูล
• การวิเคราะห์ด้วย Spatial Autocorrelation
• การวิเคราะห์ด้วย Cluster Analysis และการวิเคราะห์รูปแบบอื่น ๆ
รู้เพิ่มอีกนิด กับตัวอย่างแถวนี้
• ยกตัวอย่างเรื่องที่เลือกมาวิเคราะห์ ผ่านมุมมองและแง่คิด
• ตัวอย่างข้อมูล และการฝึกวิเคราะห์ด้วยตนเอง
• สรุปผลที่ได้จากการวิเคราะห์
-
การวิเคราะห์การกระจายตัวของข้อมูลด้วย Univariate Analysis
-
การกำหนด Spatial Weight ให้กับข้อมูล (GeoDa 7 CONTIGUITY WEIGHT)
-
การกำหนด Spatial Weight ให้กับข้อมูล 1/1 (GeoDa 8 WEIGHT QUEEN ROOK)
-
การกำหนด Spatial Weight ให้กับข้อมูล 1/2 (GeoDa 9 DISTANCE WEIGHT)
-
การวิเคราะห์ด้วย Spatial Autocorrelation (GeoDa 11 MORAN LISA)
-
การวิเคราะห์ด้วย Cluster Analysis 1/1 (GeoDa 13 LOCALG)
-
การวิเคราะห์ด้วย Cluster Analysis 1/2 (GeoDa 14 KMEANS)
-
การวิเคราะห์ด้วย Cluster Analysis 1/3 (GeoDa 15 PCA)
-
ยกตัวอย่างเรื่องที่เลือกมาวิเคราะห์ ผ่านมุมมองและแง่คิด (เรื่องความเดือนร้อน 16)
หัวข้อ
เรียนรู้แบบจำลอง
• การพัฒนาข้อมูล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาแบบจำลองเชิงพื้นที่
• ตัวเลขและความน่าเชื่อถือของแบบจำลองเชิงพื้นที่
• ความถูกต้อง และแนวทางปรับปรุงแบบจำลอง
• การประยุกต์ใช้กับข้อมูล และการนำไปใช้
• ทดลองกับข้อมูลตัวอย่าง (ฝึกวิเคราะห์ด้วยตนเอง)
• สรุปผลที่ได้จากการวิเคราะห์
เรียนรู้ และทำให้เป็นกับ Dashboard
ภาพรวมการจัดทำและนำเสนอข้อมูลผ่าน Dashboard
• การเข้าใช้งานระบบ ArcGIS online ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ
• การนำเข้าข้อมูลผลการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือนำเข้าชั้นข้อมูล (New Item)
• การสร้างแผนที่ (Create Map) และจัดการคุณลักษณะของแผนที่ (Edit Content)
• การสร้าง Dashboard โดยใช้เครื่องมือ Create App
• การจัดการหน้าจอการนำเสนอ Dashboard ด้วยแผนภูมิ กราฟ ตาราง และแผนที่
• การตั้งค่าการนำเสนอ (Setting) ผลลัพธ์บน Dashboard
• การบันทึกและเผยแพร่หน้าจอการนำเสนอ Dashboard (Share)
-
เรียนรู้แบบจำลอง (Spatial Lag 18)
-
เรียนรู้แบบจำลองตัวเลขและความน่าเชื่อถือของแบบจำลองเชิงพื้นที่ (Spatial Error 19)
-
เรียนรู้แบบจำลองความถูกต้องและแนวทางปรับปรุงแบบจำลองคาดประมาณประชากร
-
ภาพรวมการจัดทำและนำเสนอข้อมูลผ่าน Dashboard (general advance)
-
การเข้าใช้งานระบบ ArcGIS online ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ (open nso arcgis online)
-
การนำเข้าข้อมูลผลการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือนำเข้าชั้นข้อมูล New Ite) (import gis file)
-
การสร้างแผนที่ (Create Map) และจัดการคุณลักษณะของแผนที่ (Edit Content)
-
การสร้าง Dashboard โดยใช้เครื่องมือ Create App (create dashboard tab 1)
-
การจัดการหน้าจอการนำเสนอ Dashboard ด้วยแผนภูมิ กราฟ ตาราง และแผนที่ (create summary dashboard)